>หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564<<
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Science and Innovation for Development
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม (ไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ (ไทย) : ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Science and Innovation for Development)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : Ph.D. (Science and Innovation for Development)
ปรัชญาของหลักสูตร
รู้จริงในวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา นาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรม ที่ต่อยอดจาการเรียนในหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา และสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จะนาสู่การพัฒนาศักยภาพของบุคคลในระดับสูง ที่เป็นปัจจัยที่สาคัญของการพัฒนาทุกด้านในอนาคต ซึ่งต้องการบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ การพัฒนานวัตกรรมต่อยอด ที่ต้องมีทักษะและกระบวนการแสวงหาความรู้ที่จะนาสู่การพัฒนานวัตกรรม สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์กับสาขาวิชาอื่นได้อย่างอย่างมีประสิทธิภาพ ที่จะเป็นผู้นาสาคัญในการพัฒนาและแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยต่อไป
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาจัดการศึกษาเป็นแบบ 1.1 และแบบ 2.1 โดยมีคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาดังนี้
1) แบบ 1.1 (แผนการศึกษาที่มีการทาดุษฎีนิพนธ์อย่างเดียว)
เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
(1) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ศึกษา หรือศึกษาศาสตร์ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและชุมชน
(2) เป็นผู้มีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องด้านวิทยาศาสตร์อย่างน้อย 2 ปี หรือมีประสบการณ์การทาวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านวิทยาศาสตร์ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ หรือเป็นผู้มีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนและสังคม หรือเป็นผู้มีประสบการณ์ในการนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและชุมชน
(3) หากไม่มีคุณสมบัติตามที่ระบุไว้ในข้อ 1) และ 2) ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรและให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
(4) กรณีที่ผู้สมัครเรียนสาเร็จการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตในแผนการเรียนที่ไม่ได้ทาวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้เรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการทาวิจัยโดยไม่นับหน่วยกิตตามที่คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรเห็นชอบ
(5) มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์กาหนด
2) แบบ 2.1 (แผนการศึกษาที่มีการเรียนรายวิชาร่วมกับการทาดุษฎีนิพนธ์)
เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
(1) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาหรือวิทยาศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและชุมชน
(2) เป็นผู้มีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องด้านวิทยาศาสตร์อย่างน้อย 2 ปี หรือมีประสบการณ์การทาวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านวิทยาศาสตร์ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ หรือเป็นผู้มีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนและสังคม หรือเป็นผู้มีประสบการณ์ในการนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและชุมชน
(3) คุณสมบัติทั่วไปให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
(4) หากไม่มีคุณสมบัติตามที่ระบุไว้ในข้อ 1) และ 2) ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรและให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
ในการคัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา พิจารณาจากสิ่งต่อไปนี้
1) พิจารณาประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ประสบการณ์หรือผลงานที่ผ่านมา
2) มีหนังสือรับรองตามแบบของมหาวิทยาลัยรับรองผู้ที่จะศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิตจากอาจารย์ที่เคยสอนในระดับบัณฑิต หรือดุษฎีบัณฑิต หรืออาจารย์ที่ปรึกษา จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน
3) ผ่านกระบวนการคัดเลือกเข้าศึกษาตามกฎ ข้อบังคับ และระเบียบของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
แนวทางการประกอบอาชีพหลังสำเร็จการศึกษา
1) ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
2) นักวิชาการทางการศึกษา
3) นักวิชาการในองค์การภาครัฐและเอกชน
4) ผู้บริหารองค์การภาครัฐและเอกชน
5) นักวิจัย
6) นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
7) ผู้ประกอบการในชุมชนท้องถิ่น เช่น ผู้ประกอบการธุรกิจ ผู้เริ่มต้นธุรกิจใหม่ (Startup) ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
8) อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างหลักสูตร
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ รวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต จัดการศึกษาเป็น 2 แบบ คือ แบบ 1.1 และแบบ 2.1 โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ
รายการ | เกณฑ์ อว. | หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 | ||
แบบ 1.1 | แบบ 2.1 | แบบ 1.1 | แบบ 2.1 | |
1) หมวดวิชาเฉพาะ | – | ไม่น้อยกว่า 12 | ไม่นับหน่วยกิต | ไม่น้อยกว่า 12 |
วิชาเอก | – | ไม่น้อยกว่า 12 | ||
เอกบังคับ | ไม่น้อยกว่า 9 | |||
เอกเลือก | ไม่น้อยกว่า 3 | |||
2) วิทยานิพนธ์ | ไม่น้อยกว่า 48 | ไม่น้อยกว่า 36 | ไม่น้อยกว่า 48 | ไม่น้อยกว่า 36 |
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 48 | ไม่น้อยกว่า 48 | ไม่น้อยกว่า 48 | ไม่น้อยกว่า 48 |
โครงสร้างรายวิชา
แบบ 1.1 (แผนการศึกษาที่มีการทาดุษฎีนิพนธ์อย่างเดียว) | ||
1) ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต | ||
GSI831 | ดุษฎีนิพนธ์ Doctoral Dissertation |
48(0-0-2250) |
2) วิชาเสริม 2 วิชา (ไม่นับหน่วยกิต) | ||
GSI800 | ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาดุษฎีบัณฑิต Professional English for Doctoral Candidates |
3(3-0-6) |
GSI804 | สัมมนาทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Seminar in Science and Innovation |
4 หน่วยกิต |
แบบ 2.1 (แผนการศึกษาที่มีการเรียนรายวิชาร่วมกับการทาดุษฎีนิพนธ์) | ||
1) หมวดวิชาเอกบังคับ * กำหนดให้เรียนจำนวน 9 หน่วยกิต ดังนี้ | ||
GSI801 | การวิเคราะห์ปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ Analysis of Science Philosophy |
3(3-0-6) |
GSI802 | กระบวนทัศน์ รูปแบบการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง Paradigm and Advanced Research Methodology |
3(3-0-6) |
GSI803 | การออกแบบหลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Curriculum design and Science and Innovation for Development |
3(3-0-6) |
GSI804 | สัมมนาทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา (ไม่นับหน่วยกิต) Seminar in Science and Innovation for Development |
4 หน่วยกิต |
2) หมวดวิชาเอกเลือก กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต | ||
GSI811 | สถิติและการวิจัยขั้นสูง Advanced Statistic and Research Methodology |
2(2-0-4) |
GSI812 | การประเมินในวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Assessment in Science and Innovation for Development |
3(3-0-6) |
GSI813 | เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับนักวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Information Technology and Communication for Science and Innovation for Development |
3(2-2-5) |
GSI814 | วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Science and Innovation for development |
3(3-0-6) |
GSI816 | การวิจัยเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์ Research for Competencies in Science and Technology for developing Innovation |
3(3-0-6) |
3) วิชาพื้นฐานภาษาอังกฤษ (ไม่นับหน่วยกิตตามโครงสร้างหลักสูตร) | ||
GSI800 | ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาดุษฎีบัณฑิต Professional English for Doctoral Candidates |
3(3-0-6) |
4) ดุษฎีนิพนธ์ | ||
การสอบวัดคุณสมบัติ Qualifying Examination |
0 หน่วยกิต | |
GSI832 | ดุษฎีนิพนธ์ Doctoral Dissertation |
36 หน่วยกิต |
หมายเหตุ: นักศึกษาต้องสอบผ่านเกณฑ์ความรู้ภาษาอังกฤษ ระดับบัณฑิตศึกษา ตามประกาศของมหาวิทยาลัยกำหนด |
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ผู้เข้าศึกษาต่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ตลอดหลักสูตรจำนวน 350,000 บาท แบ่งจ่ายเป็นภาคเรียน จำนวน 9 ภาคเรียน ภาคเรียนที่ 1-7 ภาคเรียนละ 40,000 บาท ภาคเรียนที่ 8-9 ภาคเรียนละ 35,000 บาท >>รายละเอียดค่าธรรม<<
*ทั้งนี้ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา และการศึกษาดูงาน*